3. การเก็บรักษาข้อมูลจราจร (มาตรา 26)
2.การเก็บรักษาข้อมูลจราจร (มาตรา 20)
1. อํานาจทั่วไปของพนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับการแต่งตั้ง
(มาตรา 18)
หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่
8. การเก็บข้อมูลจราจรคอมพิวเตอร์
(Log File) (มาตรา17)
7. การตัดต่อรูปภาพ (มาตรา 16)
6. การคอมเม้นในข่าวปลอม (มาตรา 15)
5. การโพสต์ข่าวปลอมก่อให้เกิดความเสียหาย (มาตรา 14)
4. การแอบเข้าระบบของหน่วยงานภาครัฐ (มาตรา 12)
3. การฝากร้านตาม Facebook และ IG
หรือแพลตฟอร์มออนไลน์อืนๆ (มาตรา 11)
2. การหยุด แก้ไข ดัดแปลงข้อมูล
(มาตรา 9 - 10)
หมวด 1 ความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์
1. Hack Facebook, YouTube, Line (มาตรา 5 -8 )
โครงสร้างของ พ.ร.บ.การกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์
ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ข้อมูลเกียวกับการติดต่อสือสารของระบบคอมพิวเตอร์งแสดงถึงแหล่งกําเนิด
ต้นทางปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที ปริมาณ ระยะเวลาชนิดของบริการ หรืออืนๆทีเกียวข้องกับการติดต่อสือสารของระบบคอมพิวเตอร์นั้น
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ที
เชือมการทํางานเข้าด้วยกัน โดยได้มีการกําหนดคําสัง ชุดคําสัง หรือสิ่งอืนใดและแนวทางปฏิบัติงานให้อุปกรณ์หรือชุดอุปกรณ์ทําหน้าที่ประมวลผลข้อมูลโดยอัตโนมัติ
ความหมายเกียวกับคอมพิวเตอร์
ขอบเขตของพระราชบัญญัติการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์ สามารถสรุปได้ดังนี้
1. ช่วยคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและลดความคุกคามของผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์สือ
ออนไลน์ต่างๆ
2. ลดการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาทางออนไลน์ คุ้มครองเจ้าของแบรนด์ต่าง ๆ
ไม่ให้ถูกละเมิด
ขอบเขตการบังคับใช้ของ พ.ร.บ.
พระราชบัญญัติการกระทําความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2560 มี 2 หมวด แบ่งได้ดังนี้
- หมวด 1 ความผิดเกียวกับคอมพิวเตอร์
- หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที
พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุด เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โน็ตบุ๊ค
สมาร์ตโฟน รวมไปถึงระบบต่าง ๆ ที่ถูกควบคุมการกระทำระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็น พรบ คอม ที่ออกมาเพื่อป้องกัน
และควบคุมการกระทำผิดที่จะเกิดขึ้นได้การใช้คอมพิวเตอร์ หากผู้ใดกระทำผิดก็จะต้องได้รับการลงโทษตามที่
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
Floating กฏหมายฉบับเเรกบังคับใช้ในปี 10 มิถุนายน 2550 เเละได้มีการปรับปรุงเเก้ไข
ดังนี้ พระราชบัญญัติคุ้มครองเเรงงาน (ฉบับที่2) 23 มกราคม 2560
การเปลี่ยนเเปลงพระราชบัญญัติ